รศ. ดร.กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์

ความเชี่ยวชาญ

  • งานวิจัยทางจิตวิทยาและพุทธจิตวิทยา
  • งานวิจัยทางพระพุทธศาสนา
  • งานวิจัยทางสังคมศาสตร์
  • งานวิจัยทางวัฒนธรรม

ผลงานวิจัย

(1) หัวหน้าโครงการวิจัย

  1. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2558). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสาระการเรียนรู้หลักสูตรธรรมศึกษาและหลักสูตรวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียน. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  2. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, พุทธชาติ แผนสมบุญ. (2560). ค่านิยมและพฤติกรรมต้นแบบการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ตามแนวพุทธจิตวิทยาบูรณาการของสามเณร. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  3. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, พุทธชาติ แผนสมบุญ. (2561). กระบวนการเรียนรู้เพื่อการจัดการเครือข่ายพระสงฆ์พิทักษ์วัฒนธรรม. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  4. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, พุทธชาติ แผนสมบุญ. (2561). รูปแบบและกระบวนการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  5. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และอำนาจ บัวศิริ. (2561). โครงการสุขชีวีวิถีพุทธ : ในชุมชนเมืองยุค 4.0: กระบวนการมีส่วนร่วมชุมชน บ้านวัด โรงเรียน. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  6. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ. (2561). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างจิตสำนึกด้านคุณธรรมตามหลักพุทธจิตวิทยาสำหรับเยาวชน. โครงการวิจัยรับใช้สังคมท้อปเทร็นด์สู่ท้อปมายด์ ปี 2561 (วินัย ใฝ่ดี มีจิตอาสาเพื่อสังคม). รายงานวิจัย. ทุนสนับสนุนบริษัทท้อปเทร็นด์แมนูเฟอริ่ง จำกัด และสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  7. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ. (2561). รูปแบบการออกกำลังกายด้วยการเจริญสติของผู้สูงอายุในจังหวัดฉะเชิงเทรา. รายงานวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  8. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ. (2562). โครงการนวัตกรรมสุขภาวะวิถีพุทธและพุทธจิตวิทยาบำบัดเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงภาวะซึมเศร้าของเยาวชนไทย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพและสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. รายงานวิจัย. หัวหน้าโครงการวิจัยย่อย ภายใต้โครงการการเสริมสร้างสุขภาวะเชิงพุทธของหน่วยงานอบรมประชาชนประจำตำบล (อ.ป.ต) ในสังคมไทย โดย พระสุธีรัตนบัณฑิต รศ.ดร.
  9. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ. (2563). การพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบสันติสุขตามหลักคำสอนทางศาสนาในพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้. รายงานวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  10. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ. (2561). รูปแบบการออกกำลังกายด้วยการเจริญสติของผู้สูงอายุในจังหวัดฉะเชิงเทรา. รายงานวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  11. โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิคด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T FOR BCG) แขวงเสาชิงช้า มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) 2565
  12. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ . (2565). รูปแบบการใช้สื่อสร้างสรรค์วิถีพุทธเพื่อพัฒนาบ้านท้องถิ่นในบ้านเกิดของเยาวชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. รายงานวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  13. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ. (2566). พุทธจิตวิทยาวิถีชีวิตใหม่: กลไกการสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจของครอบครัวไทย. รายงานวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  14. เยาวชนโขนออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น: กระบวนส่งเสริมกิจกรรมสืบสานการแสดงโขนเยาวชน โดยบูรณาการหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาผ่านสื่อสร้างสรรค์,สนับสนุนจากธนาคารออมสิน (2567)

(2) ผู้ร่วมวิจัย

  1. พระมหาสุทิตย์ อาภากโร ดร., กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2558). การสร้างและพัฒนาตัวชี้วัดความสุขของประชาชนตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  2. พระมหานันทวิทย์ ธีรภทฺโท, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, ดร.อัครนันท์ อริยศรีพงษ์. (2559). การเสริมสร้างจริยธรรมสำหรับผู้ต้องขังในเขตกรุงเทพมหานคร. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  3. พระเทพปวรเมธี, รศ.ดร. , กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, ขันทอง วัฒนะประดิษฐ์, ญาศุมินท์ อินทร์ กรุงเก่า. (2560). การขับเคลื่อนการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา: นโยบายและแนวปฏิบัติเพื่อการพัฒนาสังคมสันติสุข. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  4. พระมหาบุญเลิศ ช่วยธานี, ผศ.ดร.ศิริวัฒน์ ศรีเครือดง, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และพุทธชาติ แผนสมบุญ. (2560). การพัฒนาจิตและปัญญาแบบองค์รวมด้วยกระบวนการ Bio Feedback. โครงการย่อยที่ 2 การพัฒนากิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสุขชีวีตามแนวทางการพัฒนาจิตและปัญญาแบบองค์รวม. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  5. พระมหาชุติภัค อภินนฺโท, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, ญาณินทร์ รักวงศ์วาน และพุทธชาติ แผนสมบุญ. (2560). อัตลักษณ์กับการท่องเที่ยว : ศึกษาการนําอัตลักษณ์มาใช้กับการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมของเมืองหลวงพระบาง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  6. พุทธชาติ แผนสมบุญ และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561).การติดตามการปฏิบัติศาสนกิจของพระธรรมฑูตสายต่างประเทศของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  7. พระมหาบุญเลิศ, อินฺทปญฺโญ; กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และพุทธชาติ แผนสมบุญ. (2561). การพัฒนากิจกรรมเพื่อสร้างชีวสุขตามแนวทางการพัฒนาจิตและปัญญาแบบองค์รวม ระยะที่ 2. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  8. พุทธชาติ แผนสมบุญ และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพฤฒิพลังสำหรับผู้สูงอายุ. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  9. อัครนันท์ อริยศรีพงษ์ และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมและจิตวิทยาเชิงบวกที่มีต่อสุขภาวะองค์รวมแนวพุทธของครอบครัวในชุมชนอาคารสูง เขตกรุงเทพมหานคร. รายงานการวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  10. นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร, พระครูพิพิธปริยัติกิจ, พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์ และ กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561). การวิเคราะห์สังเคราะห์องค์ความรู้และกระบวนการให้การปรึกษาเชิงพุทธจิตวิทยา. รายงานการวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  11. พระมหาเกรียงศักดิ์ อินทปญปัญ, พระมหานันทวิทย์ ธีรภทฺโท, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, พุทธชาติ แผนสมบุญ, รังสรรค์ วัฒนาชัยวณิช และถาวร ภูษา. (2564).แท็กซี่คุณธรรม : การสร้างเครือข่ายในพัฒนาคุณภาพผู้ขับรถแท็กซี่ในเขตกรุงเทพมหานครในด้านการมีจิตให้บริการที่ดี. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  12. พระมหานันทวิทย์ แก้วบุตรดี และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2566). พื้นที่สร้างสรรค์จากคนสามวัย: การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมพื้นที่สร้างสรรค์ทุนวัฒนธรรมทางสังคมผ่านคนสามวัย. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  13. ผู้ร่วมวิจัย รายงานวิจัยเรื่อง หัวโขนวิถีไทย: การจัดการทุนวัฒนธรรมเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนและสํานึกท้องถิ่นตามแนวพระพุทธศาสนาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หน่วยบริหารและจัดการทุน (ทุนบพท.) ปี งบประมาณ (2567) โดย รศ.ดร.สุรพล สุยะพรหม เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย
Scroll to Top
ห้องวิจัยพุทธศาสตร์อัจฉริยะ BRL: Buddhist Research LAB
Privacy Overview

This website uses cookies so that we can provide you with the best user experience possible. Cookie information is stored in your browser and performs functions such as recognising you when you return to our website and helping our team to understand which sections of the website you find most interesting and useful.