รศ.ดร.ว่าที่ พ.ต.สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล
- ผู้วิจัย : รศ.ดร.ว่าที่ พ.ต.สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล
- สังกัด : ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- อีเมล : Sawat_ake@yahoo.com
- วุฒิการศึกษา : ปริญญาเอก
- ตำแหน่งทางวิชาการ : รองศาสตราจารย์
ความเชี่ยวชาญ
- รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ การตลาด การจัดการ
- นิติศาสตร์ กฎหมายมหาชน การบริหารงานยุติธรรม
- ศึกษาศาสตร์ สื่อสารมวลชน ไทยคดีศึกษา พัฒนาสังคม
- เกษตรศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ ประชากรศึกษา
ผลงานวิจัย
- สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล. (2550). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการซื้อผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ของผู้บริโภค. กระทรวงยุติธรรม.
- สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล. (2551). งานราชทัณฑ์เปรียบเทียบ: มาตรการในการแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขัง.กระทรวงยุติธรรม.
- สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล. (2553). การจ่ายรางวัลปันผลจากการรับจ้างแรงงานผู้ต้องขังของเรือนจำและทัณฑสถาน.กระทรวงยุติธรรม.
- สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล. (2554). การปฏิบัติธรรมของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
- สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล. (2555). การบริหารเรือนจำเชิงพุทธบูรณาการ. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
- สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล. (2557). การฝึกวิชาชีพและค่าตอบแทนการทำงานของผู้ต้องขัง.กระทรวงยุติธรรม.
- สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล. (2558). การพัฒนากระบวนการยุติธรรมตามแนวพุทธ. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
- สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล. (2560). การส่งเสริมประชาธิปไตยเชิงพุทธบูรณาการ.สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
- ธัชชนันท์ อิศรเดช และคณะ. (2561). การพัฒนานวัตกรรมการส่งเสริมพฤติกรรมการเลือกตั้งของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง.สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (งานวิจัยร่วม)
- สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล. (2563). การลดภาระในภาครัฐโดยใช้วัดเป็นสถานกักขังในโทษที่เหมาะสม. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
- สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล. (2564). การส่งเสริมวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชน.สถาบันวิจัย พุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
- กาญจนา ดำจุติ และคณะ. (2566).การพัฒนาเชิงพื้นที่เพื่อสร้างเครือข่ายชุมชนในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมถ้ำเลเขากอบ จังหวัดตรัง. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (งานวิจัยร่วม)
จำนวนครั้งในการเข้าชม : 22